An online learning resource to enrich personal values and foster a community of learners.
แหล่งเรียนออนไลน์เพื่อเติมเต็มคุณค่าส่วนบุคคล และสร้างสรรค์ความเป็นชุมชนแห่งความใฝ่รู้
สูตรชีวิต
LIFE RECIPE
หลากหลายเช็คลิสต์ เพื่อชีวิตเคลียร์ คาล์ม คูล | A variety of "Clear, Calm, Cool Checklist" items
เนื้อหาสาระที่น่าประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และเป็นหลักการสำคัญของผู้นำกิจกรรม
ภาษาอังกฤษ
ENGLISH STUDY
ฝึกภาษาเพื่อการศึกษาและการสื่อสาร | English for education and communication
บทเรียน interactive on-line ที่ให้ฝึกได้ทั้งหลักภาษา เตรียมสอบตามกรอบ CEFR และฝึกการสนทนาทั่วไป
ผลิตสื่อสร้างสรรค์
MEDIA DEVELOPMENT
สร้างสรรค์สื่อ เพื่อสื่อสาระ | Creative Multimedia for Creative Learning
คู่มือสร้างสรรค์สื่อออนไลน์ ที่ฝึกทำตามได้ง่ายๆ อย่างเป็นลำดับขั้นตอน
ร่วมงานกันเป็นทีม
MG TEAMWORK METHOD
แตกต่างอย่างกลมกลืน สู่ความยั่งยืนของทีม | Fostering Unity Through Embracing Diversity
คู่มือบริหารจัดการกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อการเท่าทันยุคสมัย (On going process - อยู่ระหว่างการออกแบบและพัฒนา)
Mindful Active Learning | การเรียนอย่างตื่นรู้
① Mindful Active
🎯 ❝รอบรู้ใจเรา❞
To understand ourselves is to know how our mind works in terms of both scientific research and ancient wisdom. Let's see what educators say about the mind and our way of study, and put the theory to the test ourselves by adjusting it to our way of life and see how it works.
การเข้าใจตนเอง คือการรู้ว่าจิตใจของเราทำงานอย่างไร ทั้งในแง่การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และในเชิงภูมิปัญญาเก่าแก่ที่มีมาแต่โบราณ แล้วลองมาดูว่านักการศึกษาทั้งหลาย ได้พูดไว้อย่างไรบ้างเกี่ยวกับจิตใจ และการศึกษาเล่าเรียน พร้อมทั้งลองนำทฤษฎีต่าง ๆ มาทดสอบด้วยตัวเราเอง โดยปรับให้เข้ากับวิถีชีวิตของเรา แล้วลองดูว่าแนวทางใดที่ได้ผล
Click "✚" to view videos and script of each topic, and view in landscape on mobile to watch along with the script. คลิก "✚" เพื่อฟังเสียงจากวิดีโอ และอ่านเนื้อหาจากสคริป สามารถปรับเป็นแนวนอนในมือถือ เพื่อดูวิดีโอคู่กับสคริป
📋 Script 1.1 สติ คืออะไร
Reference (ที่มา): Buddhadhamma: The Laws of Nature and Their Benefits to Life (Chapter 18: Path Factors of Concentration) by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Robin Philip Moore [พุทธธรรม: กฏธรรมชาติ และคุณค่าสำหรับชีวิต (บทที่ 16 สมาธิ) โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
📋 Script 1.2 สติในมิติแห่งวิทยาศาสตร์
Reference (ที่มา): Mindfulness in Schools - Mindfulness for Teens by 2bpresent
📋 Script 1.3 สติ และ สมาธิ
Reference (ที่มา): Helping Yourself To Help Othersby Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Puriso Bhikkhu (Bruce Evans) [ธรรมบรรยายชุด ตามพระใหม่ไปเรียนธรรม เรื่องที่ 34 "อยากได้สมาธิกันนักหนา ถ้าไม่เอาสติมานำหน้า ทางสำเร็จก็ไม่มี" โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
📋 Script 1.4 สติกับการเรียนรู้
Reference (ที่มา): Can mindfulness improve pupils' concentration? by BBC News at Connaught School for Girls
📋 Script 1.5 ฐานที่ตั้งแห่งสติ
Reference (ที่มา): Samadhi in Buddhism by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Janet Chan, and edited by Susan Kirchhoff [สมาธิแบบพุทธ โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
📋 Script 1.6 แนวทางเบื้องต้นเพื่อฝึกฝนสติ
Reference (ที่มา): Mindfulness Meditation by UpRising UK
② Ecology of Community
🔆 ❝พร้อมเข้าสังคม❞
Human beings were designed to be social and not to live alone, so in order to better understand ourselves, we'd better understand others as well. Know who we are, where we are, what we do and why we do it in the society we live in. Which will help us live our lives harmoniously in every situation.
มนุษย์ได้รับการออกแบบมาให้อยู่กันเป็นหมู่คณะ ไม่ใช่ว่าจะมาอยู่แต่เพียงคนเดียว ดังนั้น การที่เราจะเข้าใจตนเองดีขึ้น เราจึงควรเข้าใจผู้อื่นให้ดีขึ้นด้วย โดยรู้ว่าเราเป็นใคร อยู่ที่ไหน ทำอะไร และทำไม เราจึงทำอะไรเหล่าน้้นในสังคมที่เราอยู่ ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถดำเนินชีวิตไปได้อย่างกลมกลืนในทุกสถานการณ์
Click "✚" to view videos and script of each topic, and view in landscape on mobile to watch along with the script. คลิก "✚" เพื่อฟังเสียงจากวิดีโอ และอ่านเนื้อหาจากสคริป สามารถปรับเป็นแนวนอนในมือถือ เพื่อดูวิดีโอคู่กับสคริป
2.1 📋 Script: ทำทุกทิศให้เกษมสันต์
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
2.2 📋 Script: เกื้อกูลกันประสานสังคม
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
2.3 📋 Script: พึ่งตนเองได้
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
2.4 📋 Script: อยู่ร่วมในหมู่ด้วยดี
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
2.5 📋 Script: สมาชิกที่ดีของชุมชน
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
③ Study Toolbox
📐 ❝สั่งสมประสบการณ์❞
From the day we were born up until now all we do is mostly to study, study, and study. What really is study all about and how can we really be good at it? For us to be a better learner in whatever lesson we want to learn we must start it right at the beginning then we will surely be on the right path and sail through the world of Guru nowadays.
นับตั้งแต่เราเกิดแล้วเติบโตมาจนบัดนี้ สิ่งที่เราทำมากที่สุดก็คือ เรียน เรียน และเรียน เป็นหลัก แล้วการศึกษาเรียนรู้ทั้งหมดนั้น จริง ๆ แล้ว คืออะไรกันแน่ แล้วเราจะเอาดีในเรื่องนี้ได้อย่างไร การที่เราจะเป็นผู้เรียนที่ดีได้ ในทุกบทเรียนที่เราอยากรู้นั้น เราคงจะต้องเริ่มต้นให้ถูกต้องตั้งแต่แรก เราจึงจะอยู่บนเส้นทางที่ใช่ และแล่นต่อไปอย่างฉลุย ในโลกที่รายล้อมไปด้วยกูรูผู้รู้อย่างทุกวันนี้
Click "✚" to view videos and script of each topic, and view in landscape on mobile to watch along with the script. คลิก "✚" เพื่อฟังเสียงจากวิดีโอ และอ่านเนื้อหาจากสคริป สามารถปรับเป็นแนวนอนในมือถือ เพื่อดูวิดีโอคู่กับสคริป
3.1 📋 Script: จุดเริ่มต้นของการศึกษา
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
3.2 📋 Script: มีหลักประกันชีวิตที่พัฒนา
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
3.3 📋 Script: เสริมสร้างปัญญา
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
3.4 📋 Script: ศึกษาให้เป็นผู้รู้รอบ
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
3.5 📋 Script: เลี้ยงง่าย เพื่อได้ทำประโยชน์มาก
Reference (ที่มา): True Education Begins with Wise Consumption by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Robin Philip Moore [การศึกษาเริ่มต้นเมื่อคนกินอยู่เป็น โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
④ Unlock Learning
✒ ❝สื่อสารการเรียนรู้❞
For those of us who are always in search of an idol, the one who we can trust and rely on -- why not search inside ourselves and be the one we are always looking up to ourselves. By standing up and being the one that others can rely on, whether a good friend who gives good advice or be the ones who particularly trains ourselves harder to be better in something and can help others in ways that we never thought we could, but we should anyway.
สำหรับพวกเราหลายคนที่คอยตามหาไอดอลประจำใจ ที่หมายถึงใครบางคนที่เราไว้ใจและให้ความรู้สึกว่าพึ่งพาได้ ทำไม เราไม่ลองค้นหาไอดอลภายในตัวเรา แล้วทำตัวเราให้เป็นใครคนนั้นที่เรามองหาอยู่ ด้วยตัวเอง โดยการผลักดันตนเองให้เป็นผู้ที่ใคร ๆ ก็พึ่งพาได้ ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนที่ดีที่คอยให้คำแนะนำที่เข้าท่า หรือว่าเป็นคนที่ฝึกฝนตนเองเป็นพิเศษจนกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วออกไปช่วยใครอื่นได้ ในแบบที่เราไม่เคยคิดว่าจะทำได้ แต่เราก็รู้สึกว่า เราควรทำ
Click "✚" to view videos and script of each topic, and view in landscape on mobile to watch along with the script. คลิก "✚" เพื่อฟังเสียงจากวิดีโอ และอ่านเนื้อหาจากสคริป สามารถปรับเป็นแนวนอนในมือถือ เพื่อดูวิดีโอคู่กับสคริป
4.1 📋 Script: เป็นกัลยาณมิตร
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
4.2 📋 Script: ตั้งใจประสิทธิ์ความรู้
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
4.3 📋 Script: มีลีลาผู้สอนครบครัน
Reference (ที่มา): A Constitution for Living: Buddhist principles for a fruitful and harmonious life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Bruce Evans [ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
4.4 📋 Script: ชวนดูหลักการเรียนรู้
Reference (ที่มา): Education Made Easy by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Robin Philip Moore [การศึกษา ฉบับง่าย โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
4.5 📋 Script: ปฏิบัติต่อกันด้วยดี
Reference (ที่มา): Education Made Easy by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Robin Philip Moore [การศึกษา ฉบับง่าย โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
⑤ Storytelling
🎬 ❝บอกเล่าสู่ผู้คน❞
We all love stories, be it bedtime stories, comic books, YouTube, or Netflix. Of course, there must be a good reason behind that, because ... if the way of learning by storytelling is not that good it wouldn’t have been passed on from our ancestors through our generation. So what does science say about storytelling ... and our learning brains? Most importantly, how can we as ordinary teenagers be a big storyteller ourselves?
เราทุกคน ชอบเรื่องเล่า ไม่ว่าจะเป็นนิทานก่อนนอน หนังสือการ์ตูน YouTube หรือ Netflix ซึ่งย่อมจะต้องมีเหตุผลดี ๆ สักอย่าง อยู่เบื้องหลังการที่เราชอบเรื่องเล่าแน่นอน เพราะหากแนวทางการเรียนรู้จากเรื่องเล่าเหล่านั้นไม่ดีพอ ก็คงจะไม่ได้รับการถ่ายทอด จากบรรพบุรุษ ส่งต่อผ่านมายังรุ่นของเราเป็นแน่ แล้วในทางวิทยาศาสตร์ ได้พูดไว้อย่างไรบ้าง เกี่ยวกับการเล่าเรื่อง และการเรียนรู้ของสมองเรา ที่น่าสนใจยิ่งไปกว่านั้น ในฐานะวัยรุ่นที่แสนจะธรรมดาอย่างเรา จะผันตัวมาเป็นนักเล่าเรื่อง ที่ได้เรื่องได้ราวกับเขาบ้าง ได้อย่างไร
Click "✚" to view videos and script of each topic, and view in landscape on mobile to watch along with the script. คลิก "✚" เพื่อฟังเสียงจากวิดีโอ และอ่านเนื้อหาจากสคริป สามารถปรับเป็นแนวนอนในมือถือ เพื่อดูวิดีโอคู่กับสคริป
5.1 📋 Script: ศาสตร์แห่งเรื่องเล่า
Reference (ที่มา): How stories shape our minds | The science of storytelling by by BBC Idea
5.2 📋 Script: ลักษณะที่ดึงดูดผู้คนให้สนใจ
Reference (ที่มา): Dictionary of Buddhism by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by by Phra Brahmagunabhon (P. A. Payutto)[พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
5.3 📋 Script: จากเรื่องเล่า สู่การปลุกเร้าวิจารณญาณ
Reference (ที่มา): Modern lessons from traditional tales: using stories to develop critical thinking skills by Cambridge University Press ELT
5.4 📋 Script: เล่าอย่างไร สร้างแรงใจให้ลงมือทำ
Reference (ที่มา): Buddhadhamma: The Laws of Nature and Their Benefits to Life by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Robin Philip Moore [พุทธธรรม: กฏธรรมชาติ และคุณค่าสำหรับชีวิต โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
5.5 📋 Script: การสร้างสรรค์ผลงานผ่านเรื่องราว
Reference (ที่มา): Modern lessons from traditional tales: using stories to develop critical thinking skills by Cambridge University Press ELT
⑥ Learning Technology
💻 ❝เชื่อมชุมชนด้วยเทคโนโลยี❞
How much do we know about our shiny gadget? Well, there’s no need to ask how much we use it. But, really, what else can we do about it, and by that I mean does it have any value-added to ourselves and others apart from clicking likes and comments, learning online and watching funny videos. Wouldn’t we want to know how to use it wisely be the master of our gadget and not the slave. Know how to take good care of it and not just use it carelessly and on top of that know how to use it to create something that has value to others as well.
พวกเรารู้จักอุปกรณ์ประจำตัวของเราดีแค่ไหนกัน คงไม่ต้องถามว่าเราใช้มือถือคู่กายกันนานเท่าไหร่ในแต่ละวัน แล้วจริง ๆ แล้ว เรายังสามารถทำอะไรได้อีกบ้าง จากอุปกรณ์ประจำตัวเหล่านี้ หมายถึง ยังมีอะไรที่เราจะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับทั้งตัวเราเอง และคนอื่น ๆ ได้บ้าง นอกจากการคลิกไลค์ ใส่คอมเมนต์ เรียนออนไลน์ และใช้ดูคลิปตลก เราน่าจะอยากรู้มากกว่านี้ว่า แล้วเราจะใช้อุปกรณ์ที่มีอย่างฉลาด ให้สมกับความสมาร์ทของโฟน ได้อย่างไร ในแบบที่เรียกว่า เป็นผู้ใช้มือถือ ไม่ใช่เป็นผู้เสพติดมือถือ เราควรจะรู้ว่า จะดูแลรักษาอุปกรณ์อย่างไรให้เหมาะ ยิ่งไปกว่านั้น เราน่าจะได้ใช้อุปกรณ์ที่มีนี้ มาสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ที่น่าสนใจ และใคร ๆ ก็นำไปใช้ประโยชน์ได้ด้วย
Click "✚" to view videos and script of each topic, and view in landscape on mobile to watch along with the script. คลิก "✚" เพื่อฟังเสียงจากวิดีโอ และอ่านเนื้อหาจากสคริป สามารถปรับเป็นแนวนอนในมือถือ เพื่อดูวิดีโอคู่กับสคริป
6.1 📋 Script: ใช้เทคโนโลยี อย่างมีปัญญา
Reference (ที่มา): Education Made Easy by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Robin Philip Moore [การศึกษา ฉบับง่าย โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]
6.2 📋 Script: ความปลอดภัยในโลกไร้พรมแดน
Reference (ที่มา): Internet Safety by Think Ink Productions
6.3 📋 Script: ดูแลเครื่องมือเพื่อใช้สื่อสาระ
Reference (ที่มา): Device Maintenance by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by YugaTech Philippine Tech News & Reviews
6.4 📋 Script: การเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์
Reference (ที่มา): What is Online Learning by WCU Office of Digital Learning and Innovation
6.5 📋 Script: จัดสรรเนื้อหาเพื่อการศึกษาอย่างเหมาะสม
Reference (ที่มา): Chunking for Better Online Learning by Sprouts
6.6 📋 Script: เครือข่ายออนไลน์เพื่อการเรียนรู้
Reference (ที่มา): Online Learning Community by Somdet Phra Buddhakosajarn (P. A. Payutto), Translated by Research Shorts