Mindful Active Learning for Mindful Generation ฝึกสติผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการเรียนอย่างตื่นรู้ สำหรับ ผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรทางการศึการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 48 จังหวัดจันทบุรี (28 มกราคม 2566)

Mindful Generation
Mindful Active Learning for Mindful Generation ฝึกสติผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการเรียนอย่างตื่นรู้ สำหรับ ผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรทางการศึการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 48 จังหวัดจันทบุรี (28 มกราคม 2566)
Mindful Active Technique and Ecology of Learning through an Integration of Online Interactive English Moral Story with Classroom Creative Activity (ฝึกสติกับระบบนิเวศน์แห่งการเรียนรู้ ด้วยการบูรณาการบทเรียนนิทานธรรมะภาษาอังกฤษออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์ เข้ากับกิจกรรมสร้างสรรค์ในชั้นเรียน) กับคณะผู้บริหารและครูอาจารย์กลุ่มโรงเรียนนำร่องจังหวัดระยอง ณ วัดป่าแก้ว จันทบุรี (พฤษภาคม 2564)
การประชุมร่วมกันกับสำนักสังคมและสำนักนวัตกรรมการศึกษา ของสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เพื่อวางแผนทดลองใช้บทเรียนธรรมะสองภาษาออนไลน์ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในระบบโรงเรียน (On-Earth, the 3-Ons Learning Model) ควบคู่ไปกับการทดลองประยุกต์ร่วมกับเทคนิค การฝึกสติอย่างสร้างสรรค์ผ่านการเรียนอย่างตื่นรู้ (Mindful Active Learning) เมื่อกลางเดือนมีนาคม 2563 ก่อนที่จะมีวิกฤตโควิด 19
จุดมุ่งหมายข้อที่ 3 ของโครงการพระธัมมเจดีย์ คือเชื่อมโยงคําสอนพระพุทธเจ้ากับบริบทร่วมสมัย เพื่อประโยชน์แห่งการเข้าถึงธรรมะของผู้คนในยุคปัจจุบัน
ดินแดนสุวรรณภูมิแถบนี้ ได้รักษาแก่นคำสอนของพระพุทธเจ้ามาหลายพันปี เป็นมรดกทางปัญญาอันประเมินค่ามิได้ ที่จะมอบให้กับมนุษยชาติ