Mindfulness Workshop for Mindful Generation (ฝึกสติเท่าทันความคิด ใช้ชีวิตเท่าทันยุคสมัย) สำหรับ นักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลป์ วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ณ วัดป่าแก้ว จันทบุรี

Mindful Generation
Mindfulness Workshop for Mindful Generation (ฝึกสติเท่าทันความคิด ใช้ชีวิตเท่าทันยุคสมัย) สำหรับ นักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลป์ วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ณ วัดป่าแก้ว จันทบุรี
กิจกรรมพัฒนาจิต ณ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 48 จังหวัดจันทบุรี วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2566 โดย พระอาจารย์บูชา ธมฺมปูชโก ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชนไทย หัวใจใฝ่ธรรม และเครือข่าย Mind Gen
กิจกรรมเสวนา “แนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ในเด็กและเยาวชน ประสบการณ์จากเครือข่าย Mind Gen” วันพฤหัสบดี ที่ 25 พฤษภาคม เวลา 10.30-12.30 น. ณ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
Mindful Active Learning for Mindful Generation ฝึกสติผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการเรียนอย่างตื่นรู้ สำหรับ ผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรทางการศึการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 48 จังหวัดจันทบุรี (28 มกราคม 2566)
โครงการการพัฒนาสุขภาวะทางปัญญาแก่เครือข่ายผู้นำรุ่นใหม่ ด้วยสื่อการเรียนรู้สองภาษาออนไลน์ (Well-being Development for Mindful Generation through Bilingual Digital Learning Materials) ซึ่งได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
กิจกรรมพัฒนาจิต ณ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 48 จังหวัดจันทบุรี วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2566 โดย พระอาจารย์บูชา ธมฺมปูชโก ศูนย์สร้างสรรค์เยาวชนไทย หัวใจใฝ่ธรรม และเครือข่าย Mind Gen
Mindful Active Technique and Ecology of Learning through an Integration of Online Interactive English Moral Story with Classroom Creative Activity (ฝึกสติกับระบบนิเวศน์แห่งการเรียนรู้ ด้วยการบูรณาการบทเรียนนิทานธรรมะภาษาอังกฤษออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์ เข้ากับกิจกรรมสร้างสรรค์ในชั้นเรียน) กับคณะผู้บริหารและครูอาจารย์กลุ่มโรงเรียนนำร่องจังหวัดระยอง ณ วัดป่าแก้ว จันทบุรี (พฤษภาคม 2564)
การประชุมร่วมกันกับสำนักสังคมและสำนักนวัตกรรมการศึกษา ของสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เพื่อวางแผนทดลองใช้บทเรียนธรรมะสองภาษาออนไลน์ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในระบบโรงเรียน (On-Earth, the 3-Ons Learning Model) ควบคู่ไปกับการทดลองประยุกต์ร่วมกับเทคนิค การฝึกสติอย่างสร้างสรรค์ผ่านการเรียนอย่างตื่นรู้ (Mindful Active Learning) เมื่อกลางเดือนมีนาคม 2563 ก่อนที่จะมีวิกฤตโควิด 19
จุดมุ่งหมายข้อที่ 3 ของโครงการพระธัมมเจดีย์ คือเชื่อมโยงคําสอนพระพุทธเจ้ากับบริบทร่วมสมัย เพื่อประโยชน์แห่งการเข้าถึงธรรมะของผู้คนในยุคปัจจุบัน
ดินแดนสุวรรณภูมิแถบนี้ ได้รักษาแก่นคำสอนของพระพุทธเจ้ามาหลายพันปี เป็นมรดกทางปัญญาอันประเมินค่ามิได้ ที่จะมอบให้กับมนุษยชาติ
เครือข่ายโครงการพระธัมมเจดีย์ กำลังพัฒนา 3-Ons Learning Platform โดยร่วมมือกับทางผู้บริหารและคณะทำงานมูลนิธิโรงเรียนรุ่งอรุณ เพื่อร่วมกันพัฒนาหลักสูตรธรรมศึกษายุคใหม่ ที่จะทำเป็นหลักสูตร 2 ภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
เครือข่ายธัมมวิชัย และคณะทำงานโครงการพระไตรปิฎกศึกษาเพื่อมนุษยชาติ ไปศึกษาดูงานด้านการศึกษาพระไตรปิฎกที่ประเทศเมียนมาร์เพื่อนำกลับมาทำให้เกิดขึ้นจริงในประเทศไทย ในโอกาสนี้ได้เยี่ยมชมการทำงานของเครือข่าย dhamma school ของเมียนมาร์ด้วย ในช่วงปลายเดือนมีนาคม 2562